เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่
ReadyPlanet.com
dot
แพ็กเก็จทัวร์เหนือท่านออกแบบได้
แพ็กเก็จทัวร์เหนือ ส่วนตัว


เพิ่มเพื่อน
Line id  : @konthaitour
Konthaitour VDO
LINE Stickers  Konthaitour Vo2.
ครอบครัว คนไทยทัวร์ รูปแบบ Line sticker Vo1.
รีวิวจากฃูกค้า
กิจกรรมเพื่อสังคม ( CSR ) สานฝัน ปันรอยยิ้ม
ทำไมท่านต้องตัดสินใจใช้บริการเรา /เรามีคำตอบค่ะ
แพ็กเก็จทัวร์ภาคเหนือ / ทัวร์ส่วนตัว ไม่มี Join
VIP-Executive Tour Service
ประชุมสัมมนา-เช่ารถตู้-ทัวร์หมู่คณะ ,ทัวร์เหมา
ทีมงานคนไทยทัวร์
ประชุม สัมมนา ,งานเลี้ยง ,กิจกรรมต่างๆ ,ปาร์ตี้ส่วนตัว ,Tour organize,golf arrangement ,events ,ทัศนศึกษา
คนไทยทัวร์   รับสมัคร Partner คู่ใจทั่วประเทศ
สถานที่เที่ยวภาคเหนือ รวมฮิต / Northern Attractions Review By Konthaitour
โรงแรม รีสอร์ท บ้านพัก HOME STAY ที่พัก ภาคเหนือ Review By Konthatour
 ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านของกิน ภาคเหนือ  Review By Konthaitour
tripadvisor
www.konthaitour.com Source Code:


เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่

 

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

 

ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้ 

ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์ 

แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม 

แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่ 

โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ


สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่

หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ 

ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ 

ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า

เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง 

โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย


ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง 

คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก 

กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน 

กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน 

กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี 

พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒ 

ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล 

กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า 

กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า

ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ 

กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง 

วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต 

เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า 

กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ 

ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น 

บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี 

กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น 

ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก

๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม 

แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก 

สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ

ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง 

เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก 

ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น 

ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก

ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐) 

ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก 

ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง 

ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน 

ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ 

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง 

ในสมัยรัชกาลที่ ๕

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่ 

ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่ 

ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย 

(พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑) 

ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน 

การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง


๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง ) 

ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่ 

คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู 

ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙

อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้ 

หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา 

พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง 

เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย 

เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้ 

หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่ 

และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ 

พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน 

ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง


๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช

พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช

คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว 

เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้

เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา 

ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง


บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๑. ประตูช้างม่อย 

อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง 

ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม 

แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ

ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น

โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง

ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย 

เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ 

เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า 

ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ 

หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง 

อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง 

ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง 

เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง


๔. ประตูขัวก้อม 

อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘

เรื่องเล่าประตูเวียงเชียงใหม่  ประตูเวียง (ประตูเมือง)  ประตูเวียง (ประตูเมือง) จังหวัดเชียงใหม่ยังคงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยก็ว่าได้  ที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับกำแพงและประตูเมืองหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์  แม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะมีการบูรณะซ่อมแซมมาบ้างแล้วก็ตาม  แนวกำแพงและประตูเมืองที่เห็นในปัจจุบันยังคงมีเค้าโครงของแนวกำแพงสมัยโบราณอยู่  โดยเฉพาะก้อนอิฐซึ่งมีลักษณะใหญ่กว่าปกติ  สันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้ากาวิละที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ หลังจากที่ร้างมานานกว่า ๒๐๐ ปี กำแพงเมืองและประตูเมืองเชียงใหม่มีความสำคัญ  ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ที่พิเศษ  ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์จะเสด็จเข้าเมืองจะต้องเข้าเมืองที่ประตูทางทิศเหนือ  ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ในการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ขึ้นแต่เดิมนั้น พงศาวดารโยนกกล่าวไว้ว่า เมื่อพญามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นแล้ว  ได้ทรงขุดคูเมืองทั้งสี่ด้านนำเอาดินขึ้นมาถมเป็นแนวกำแพง  โดยเริ่มขุดที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือคือแจ่งศรีภูมิอันเป็นทิศมงคลก่อน  แล้วก่ออิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย  ข้างบนกำแพงปูอิฐตลอดแนวทำเสมาไว้บนกำแพงทั้งสี่ด้านและประตูเมืองอีกทั้ง ๔ แห่ง  คือประตูหัวเวียง(ช้างเผือก) ,ประตูท้ายเวียง(เชียงใหม่) ,ประตูท่าแพ และ ประตูสวนดอก  กำแพงเมืองเชียงใหม่มีสองชั้น คือ กำแพงชั้นในรูปสี่เหลี่ยมและกำแพงชั้นนอกหรือกำแพงดิน  กำแพงทั้งสองชั้นสร้างขึ้นไม่พร้อมกันและมีความสำคัญไม่เท่ากัน  กำแพงชั้นในสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพญามังราย เมื่อครั้งสถาปนาเมืองเชียงใหม่ในปี  พ.ศ. ๑๘๙๓ ส่วนกำแพงชั้นนอกสันนิษฐานว่าสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒  ในรายงานการวิจัยเรื่อง "ชุมชนโบราณในแอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน" โดยสรัสวดี อ๋องสกุล  กล่าวถึงความสำคัญของกำแพงเมืองทั้งสองว่า  กำแพงเมืองชั้นในมีความสำคัญกว่ากำแพงเมืองชั้นนอก ซึ่งพิจารณาจากการใช้สอยพื้นที่พบว่า ภายในกำแพงเมืองชั้นในถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการปกครองเพราะเป็นที่อยู่ของ  กษัตริย์และเจ้านาย รวมทั้งเป็นที่ตั้งของวัดสำคัญหลายแห่ง เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง  วัดเชียงมั่น ด้านถนนภายในกำแพงเมืองมีลักษณะตัดตรงเป็นเรขาคณิต  เมื่อเปรียบเทียบกันกำแพงเมืองชั้นนอกแล้วพบว่า  กำแพงชั้นนอกเป็นที่อยู่ของช่างและพ่อค้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย อาทิ  ชาวเขิน มอญ พม่า ไทใหญ่และไทยวน ส่วนบริเวณกำแพงเมืองชั้นในจะกำหนดให้เฉพาะชาวไทยวน หรือ คนเมืองอยู่เท่านั้น  บริเวณกำแพงเมืองชั้นใน ประกอบด้วยประตูเมือง ๕ ประตู ได้แก่  ๑. ประตูหัวเวียง ( คนเชียงใหม่ เรียก ปะตู๋จ๊างเผือก ) หรือ ประตูช้างเผือก อยู่ทางทิศเหนือของเมืองถือว่าเป็นประตูมงคล ในพิธีราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี  กษัตริย์ผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่จะเสด็จเข้ามาที่ประตูนี้ ประตูหัวเวียงเปลี่ยนชื่อมาเป็น  ประตูช้างเผือกเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่อพญาแสนเมืองมาได้สร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก ๒ เชือก เป็นอนุสรณ์แก่มหาดเล็ก ๒ คนที่ช่วยพระองค์ให้รอดพ้นจากภัยสงคราม  แต่เดิมรูปปั้นช้างเผือกทั้ง ๒ เชือกอยู่ริมถนนโชตนาด้านละเชือก  สำหรับรูปปั้นช้างเผือกที่ตั้งในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละ  ๒. ประตูเชียงเรือก หรือ ประตูท่าแพ ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของกำแพงเมืองชั้นใน มีบ้านเชียงเรือกตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมือง  เดิมบ้านเชียงเรือกเป็นชุมชนค้าขายเพราะเป็นที่ตั้งของตลาดเชียงเรือก  ตลาดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ คาดว่ามีประชากรหนาแน่น  ซึ่งมีหลักฐานกล่าวถึงสมัยพญาแก้วเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเชียงเรือกมีคนจมน้ำตายเป็นจำนวนมาก ในสมัยพระเจ้าอินทวิชายานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๑๖ - ๒๔๔๐)  ชื่อประตูเชียงเรือก เปลี่ยนมาเป็นประตูท่าแพชั้นในเพื่อให้คู่กับประตูท่าแพชั้นนอก  ซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน ชื่อประตูท่าแพ หมายถึงประตูชั้นนอกตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดแสนฝาง  ต่อมาบ้านเรือนขยายตัวประตูท่าแพชั้นนอกได้สลายไปเหลือแต่ประตูท่าแพชั้นใน  ชาวบ้านจึงเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า ประตูท่าแพ สำหรับประตูท่าแพในปัจจุบันสร้างขึ้นใหม่  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๒๙ โดยอาศัยภาพถ่ายเก่าประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง  ในสมัยรัชกาลที่ ๕  ๓. ประตูท้ายเวียง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋เจียงใหม่ ) หรือ ประตูเชียงใหม่  ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ ของเมืองเชียงใหม่  ในอดีตเป็นเส้นทางสำคัญระหว่างเชียงใหม่ไปเวียงกุมกามและลำพูน ในสมัยราชวงศ์มังราย  (พ.ศ. ๑๘๐๔ - ๒๑๐๑)  ทั้งเชียงใหม่ กุมกามและลำพูนตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำปิงเช่นเดียวกัน  การเดินทางจึงไม่ต้องข้ามแม่น้ำปิง  ๔. ประตูแสนปุง ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋แสนปุง )  ตั้งอยู่ด้านตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับประตูเชียงใหม่  คือเฉพาะกำแพงเมืองด้านใต้เท่านั้นที่มีสองประตู  ประตูนี้สันนิษฐานอาจเจาะภายหลังคือไม่ได้สร้างพร้อมกับสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ อย่างไรก็ตามยังไม่พบหลักฐานที่กล่าวถึงการเจาะประตูนี้  หลักฐานตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูแสนปุงครั้งแรกสมัยมหาเทวีจิรประภา  พ.ศ. ๒๐๘๘ "...ชาวใต้มาปล่นเอาปะตูแสนปุง บ่ได้..." สันนิษฐานที่ชื่อ แสนปุง  เพราะเป็นทางออกไปสู่บริเวณที่มีเตาปุง (เตาไฟ) มากมาย  เพราะด้านนอกประตูเป็นที่อยู่ของกลุ่มช่างหลอมโลหะจึงมีเตาปุงไว้  หลอมโลหะจำนวนมากเปรียบนับแสน ปัจจุบันยังมีบ้านช่างหล่อพระพุทธรูปอาศัยอยู่  และถนนเลียบคูเมืองด้านนี้ชื่อถนนช่างหล่อจากความเชื่อเรื่องทิศและ  พื้นที่ถือเป็นเขตกาลกิณีจึงกำหนดให้ประตูแสนปุงเป็นทางออกไปสุสาน  ห้ามมิให้นำศพออกทางประตูอื่น ออกได้ประตูเดียวคือ ประตูแสนปุง  ๕. ประตูสวนดอก ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋สวนดอก ) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกประตูด้านนี้เป็นทางออกไปสู่อุทยาน ของกษัตริย์สมัยพญากือนาธรรมิกราช พ.ศ. ๑๙๑๔ ได้สร้างวัดบนพื้นที่อุทยานจึงเรียก วัดสวนดอก และในช่วงนั้นพญากือนาธรรมิกราช คงสร้างเวียงสวนดอกด้วย นอกจากกำแพงเมืองชั้นในแล้ว  เมืองเชียงใหม่ยังมีกำแพงเมืองชั้นนอกรูปพระจันทร์เสี้ยว หรือที่รู้จักชื่อ กำแพงดิน โอบล้อมไว้ เริ่มตั้งแต่แจ่งศรีภูมิด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเลียบตามลำน้ำแม่ข่าลงมา  ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ มาบรรจบกับกำแพงเมืองชั้นในที่แจ่งกูเฮือง  บริเวณกำแพงเมืองเชียงใหม่ด้านนอกมีประตูเมืองสำคัญอยู่ ๕ ประตู คือ  ๑. ประตูช้างม่อย  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง  ในอดีตถนนช้างม่อยเก่าเป็นเส้นทางโบราณผ่านหมู่บ้านเชียงเรือกไปวัดหนองหล่ม  แล้วไปสิ้นสุดที่ประตูช้างม่อย ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูช้างม่อยว่า สร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อบ้านเมืองขยายตัวทางราชการได้ตัดถนนช้างม่อยใหม่ขึ้น โดยเจาะกำแพงชั้นในให้ถนนราชวิถีจากในเวียงตัดตรงสู่ถนนช้างม่อยใหม่แล้วไป ออกแม่น้ำปิง ดังนั้นชาวบ้านจึงเรียกประตูชั้นในที่เจาะใหม่ว่า ประตูช้างม่อย  เพื่อแทนที่ประตูเดิมซึ่งถูกรื้อทิ้งไปในปี พ.ศ. ๒๕๑๑  ๒. ประตูท่าแพ ( คนเชียงใหม่เรียก ปะตู๋ต่าแป ) อยู่ด้านทิศตะวันออกของเมืองบริเวณหน้าวัดแสนฝาง ที่ชื่อท่าแพ  เพราะเป็นทางออกสู่ท่าน้ำแม่ปิง ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เรียกชื่อประตูนี้ว่า  ประตูท่าแพชั้นนอก เพราะความเจริญเติบโตของเมืองชื่อของประตูท่าแพชั้นนอกจึงค่อย ๆ  หายไป ประตูท่าแพจึงเหลือเพียงประตูเดียวคือ ประตูท่าแพชั้นใน หรือ ประตูเชียงเรือก  ๓. ประตูหล่ายแคง หรือ ประตูระแกง  อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พบหลักฐานในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง  ประตูนี้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๓ เมื่อกองทัพธนบุรียกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ที่ชื่อหล่ายแคง  เพราะบริเวณริมคูเมืองมีลักษณะลาดเท ในสมัยต่อมาจึงเรียกเพี้ยนมาเป็น ประตูระแกง  ๔. ประตูขัวก้อม  อยู่ทางทิศใต้ ปรากฏในหลักฐานโคลงมังทรารบเชียงใหม่ว่าสร้างขึ้นอย่างน้อยใน ปี พ.ศ. ๒๑๕๘  ๕. ประตูไหยา หรือ หายยา  อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า  "พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา  แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง  จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ  สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น  อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง #ประตูไหยา #ประตูท่าแพ #ประตูช้างม่อย #ประตูสวนดอก #ประตูสวนดอก #เที่ยวเชียงใหม่ #เชียงใหม่

๕. ประตูไหยา หรือ หายยา 

อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึงประตูไหยาเป็นครั้งแรกว่า 

"พ.ศ. ๒๒๗๐ เมื่อเทพสิงห์ยึดเมืองเชียงใหม่จากพม่าได้บุกเข้ามาทางประตูไหยา 

แต่ด้วยที่ตั้งของประตูไหยาอยู่ในทิศเดียวกับประตูแสนปุง เป็นตำแหน่งกาลกิณีเมือง 

จึงใช้เป็นทางเคลื่อนศพมาฌาปนกิจที่สุสานหายยามาตั้งแต่โบราณ 

สำหรับสาเหตุที่ต้องสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่ชั้นนอกชึ้นเพื่อป้องกันกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา

ที่มักจะยกทัพมาคุกคามเมืองเชียงใหม่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่ปลายรัชสมัยของราชวงศ์มังรายมาแล้ว

ปัจจุบันแนวกำแพงและประตูเมืองทั้งด้านในและด้านนอกยังปรากฏหลักฐานให้เห็น 

อยู่ในบางช่วงส่วนบริเวณแนวกำแพงเมืองด้านนอกนั้นถูกบุกรุกจากชาวบ้านเข้าไปสร้างบ้านเรือน

จนทำให้แนวกำแพงดินพังทลายลง

 


ชื่อลุกค้า :  *
จากจังหวัด :
โทร :  *
Line id :
E-Mail :
จำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทย :
จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ :
ผู้ใหญ่ กี่ท่าน เด็กกี่ท่าน อายุเด็ก / ถ้า 11 ขวบ คือ ผู้ใหญ่ :  *
วันเดินทาง /กี่คืน :
ช่วงวันที่จะท่องเที่ยว :
ถ้ามีไฟท์บิน โปรดระบุ :
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : เชียงใหม่
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : เชียงราย
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : ลำพูน
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : ลำปาง
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : ปาย
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : แม่ฮ่องสอน
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : แพร่
น่าน
จังหวัดที่ท่านอยากเที่ยว : แล้วแต่ทางคนไทยทัวร์
ระดับโรงแรมที่ท่านอยากพัก :
ระดับทัวร์แพ็กเก็จโดยรวม :
อื่นๆ เพิ่มเติม :  *
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : Google
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : Yahoo
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : hotmail
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : พนักงานขาย ( Sales )
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : นิตยสาร ,สิ้งพิมพ์
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : วิทยุ
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : เพื่อนแนะนำ
ท่านรู้จัก คนไทยทัวร์ จากที่ไหน : อื่นๆ โปรดระบุ



เที่ยว กิน นอน ถ่ายรูป Photo Portrait

✨ Merry Christmas 2020
คนไทยทัวร์ ชวนน้อง MOMO พานั่งรถไฟเล่นที่ Phoenix Adventure Park ,Chiang Mai
น้อง Ori มาบอกว่าเชียงใหม่ -เชียงราย เที่ยวได้ ปลอดภัย ไร้กังวล จริงหรือเปล่า ? มาฟังกัน
คนไทยทัวร์ พาตะลุย ทริปล่องแพยางตามหา น้ำตกทีลอซู ราชานำ้ตก ทั้งใหญ่และอลังการ อันดับ 1 ของไทย
คนไทยทัวร์มาสาธิต ให้สบายใจ ปลอดภัย เวลาลูกค้าไปเที่ยว สถานที่เที่ยว ร้านอาหาร ตามที่ต่างๆ ใน เชียงใหม่
คนไทยทัวร์มาสาธิต ให้สบายใจ ปลอดภัย เวลาลูกค้าไปเที่ยว สถานที่เที่ยว ร้านอาหาร ตามที่ต่างๆ ใน เชียงใหม่
คนไทยทัวร์ จะมาย้ำ มาตราการเวลามาเที่ยว New Normal อย่างไรให้ห่างเชื้อ co vid เวลามาทริปทัวร์ กันนะครับ
Konthaitour กลับมาแล้วไฉไลกว่าเก่า
คนไทยทัวร์ เล่าย้อน Back to Basic 10 กว่าปีที่แล้ว เราผ่านมาแล้ว ทุกสนาม ให้ โอกาส เราจัดทริปดี ๆ เพื่อ ท่านนะครับ
ชวนมา Photo trip กันที่ I Love Flower Farm , Chiang Mai
จิบกาแฟพาเพลิน ริมนำ้แม่แตง เชียงใหม่
วงล้อมของธรรมชาติ สวนดอกไม้ป้านกเอี้ยง เชียงใหม่
เชียงใหม่ ลมหนาวมาแล้ว ได้เวลาเที่ยวแล้ว
เปลี่ยนบรรยากาศ มาเที่ยวลำปางกันที่ โรงไฟฟ้าแม่เหมาะ ต้องลองมาเอง
เช้านี้ ที่หมู่บ้านม้งดอยปุย เชียงใหม่ จ้า
เข้าตุลาแล้ว มาเที่ยวเชียงใหม่กัน เที่ยวที่ไหน ไม่สำคัญ สำคัญ คุณเที่ยวกับใคร
ยามเด็ก ดุจผ้า ขาวสะอาด ใช้ความฝัน มาวาด สร้างสิ่งใหม่
Konthaitour Travel & Photo trip Theme เจ้าหญิงในป่า
ดอกไม้ที่สดใสกับหัวใจที่เบิกบาน
Konthaitour Photo Trip ถ่ายรูปแนว Cafe & Street
Konthaitour Photo trip กับ น้อง MoMo น้อง Nat สาวเหนือ
Konthaitour เสนอทริป Tour Packege สำหรับสายชอบถ่ายภาพทั้งแบบแนวธรรมชาติ -photo portrait
Album 📸at Grandcanyon Mae Jo ,Chiang mai
เดินเล่น ชิวๆ ถ่ายรูป Photo trip กับ น้อง Aon น้อง Sulin
เที่ยว กิน ถ่ายรูป Photo trip กับ น้อง Aon น้อง Sulin
Konthaitour มาถ่ายรูปสาวๆ และมาแนะนำร้านกาแฟวาวี
ถ่ายรูป Photo trip กับ น้องโซ่ ✨ และ สาวๆ ห้ามพลาด มาชม ทริคการถ่ายรูป 📸 และท่าถ่ายรูปสวยๆ น่ารัก ๆ โปรดติดตาม
Photo Trip กับ น้องโซ่ Special Edition ครั้งที่ 3
ทริป Photo Portrait กับ น้องโซ่ Special Edition ครั้งที่ 2
ทริป Photo Trip กับ Churry Indy สาวเหนือเจ้า
Album 📸 ทริป Photo Portrait กับ น้องทราย เชียงใหม่ เจ้า
ทริป Photo Portrait กับ น้องแพร สาวเชียงใหม่ เจ้า
ทริป Photo Portrait กับ น้องโซ่ Special Edition
เบื้องหลัง Behind the scene ทริป Photo Portrait กับส้มหยุดและงู
Album 📸 Konthaitour Photo Portrait กับ น้อง Poo น้อง Ple
Konthaitour พาเที่ยว ชิม ถ่ายรูป ที่ Matchappen ,Chiang Mai กับ น้องแอล และ น้อง เชอรี่ อินดี้ เชียงใหม่ เจ้า
ทริป Photo Portrait กับ น้องเหมย สาวสวยจากเชียงราย
Konthaitour Photo Portrait กับ น้องนาย น้องเจน กันที่ สวนสนแม่แตง เชียงใหม่ และ ปางช้าง
Konthaitour Photo Portrait / Style sexy bikini pool party
Konthaitour มาตามหัวใจ ออกนอกพื้นที่มาที่ ฮักเมืองคองโฮมสเตย์ อ.เชียงดาว จ. เชียงใหม่
Konthaitour Photo Portrait กับ น้องโซ่ คล้องใจเชียงใหม่
🔰 Konthaitour Photo Portrait กับ น้อง C เจ้า
Konthaitour Photo Portrait แนว Pool Party และทะเลสาป เชียงใหม่ กับ น้องนาย และ น้อง C
Konthaitour Photo Portrait กับน้องกวาง
Konthaitour photo portrait กับ น้องปูเป้ สาวมีเสน่ห์เชียงใหม่
❣️ Konthaitour photo portrait กับ น้อง Aom Amp สาวเท่ห์ เชียงใหม่
❣️ Konthaitour Interview กันที่ ที่ 𝗣𝗔𝗥𝗔𝗗𝗢𝗫-coffee x bar-เชียงใหม่
Konthaitour Photo Portrait 2 สาวเชียงใหม่ น่ารัก
📸 Konthaitour Photo Portrait กันที่ ที่ 𝗣𝗔𝗥𝗔𝗗𝗢𝗫-coffee x bar-เชียงใหม่
Konthaitour Photo Portrait ที่ Wild Coffee & Bistro , Chiang Mai
Konthaitour Photo Portrait 2 สาวเชียงใหม่ น่ารัก
Konthaitour แวะมาแนะนำ น้องขิง อายุ 21 ปี หน้าใส ธรรมชาติ
Konthaitour มาแล้วจ้า วันนี้ มา Interview กันต่อที่ Taste Café Atelier , Chiang Mai
Konthaitour Interview ร้าน Cafe แนวๆ ที่ Yelloo Cafe , Chiang Mai
Konthaitour Intervew น้องนาย แบบเบาๆ ฝากเนื้อฝากตัวด้วยนะคะ
วันนี้มากับ น้องๆ มาเที่ยวทะเล กันที่ 𝗣𝗔𝗥𝗔𝗗𝗢𝗫-coffee x bar-เชียงใหม่ เปิดใหม่
Portrait photography By Konthaitour at playworks.cafeart ,Chiang Mai
Konthaitour 📸 Portrait photography and behind the scenes At The Baristro x Train Station
Konthaitour Executive Interview ตรงแรง ที่ One o six café ,Chiang Mai
คนไทยทัวร์ แวะมาให้กำลังใจเพื่อนบ้านชาวเชียงใหม่ กันที่ กาดฮอมน้ำใจ ลานสีดอ ท่าช้าง คาเฟ่ เชียงใหม่
Konthaitour Review กันที่ Saruda Finest Pastry ,Chiang Mai
Konthaitour Review กันที่ TWO-โท café ,Chiang Mai
Konthaitour Review & Interview กันที่ o ma ma café ,Chiang Mai
คนไทยทัวร์ พาไปชมตู้ปันสุข ในเชียงใหม่
Photo Portrait One o Six cafe ,Chiang Mai
🎉 Konthaitour แวะมาให้กำลังใจ พ่อค้า แม่ค้า ที่ Rustic Market
Konthaitour Interview และ ชี้เป้า One o six Cafe , Chiang mai
คนไทยทัวร์แวะมาเล่าเรื่องคุณยายวันทาผู้ใจบุญ
Konthaitour Interview ผู้ประกอบการ SME เชียงใหม่ ที โกดังมือสอง เก๋า เก๋าเชียงใหม่
อนุโมทนาบุุญทุกท่านที่เป็นเสาหลักมาร่วมบุญกันที่ วัดโลกโมฬี เชียงใหม่
Konthaitour Interview ธุรกิจ Farm เชียงใหม่ เลี้ยงเต่ายักษ์ ซูคาต้า ใหญ่ อันดับ 3 ของโลก
Konthaitour แนะนำร้าน ของเล่น แนว Retro ยุค 80-90 ที่ Niyom Retro Cafe ,Chiang Mai
Konthaitour Interview at Niyom Retro Cafe เชียงใหม่ กับ พี่ Oak เจ้าของร้านใจดี
Konthaitour Photo Portrait at ,Chiang Mai ▶️ Stay Home
Konthaitour review ขอแนะนำ Zapa Coffee , Chiang mai กาแฟ Drip แบบขั้นเทพ
Konthaitour review Int sense , cafe สไตล์ Minimal
Konthaitour Review at W8 x viangpha cafe ,Chiang Mai
Konthaitour Photo Portrait at Wild coffee & bistro ,Chiang Mai
Konthaitour Review at Woo Cafe . Art Gallery . Lifestyle Shop , Chiang Mai
Konthaitour Review at The Baristro At Train Station ,Chiang Mai
Konthaitour Review for All accommodation ( Hotel , Resort , Homestay ) Restaurant ,Cafe ,etc
Konthaitour แวะมาชิมอาหาร ที่ Bar ra bo caf'e & restaurant ,Chiang Mai
Konthaitour ตามน้อง Mini มาที่ klin mai hom cafe ,Chiang Mai
Konthaitour เที่ยวเก๋ ๆ ถ่ายรูป น่ารักๆ กับ 3 สาวรื่นเริง
คนไทยทัวร์ พาทุกท่านมาขอพร กับ ท้าวเวสสุรรณ ที่ ม่อนกุเวร เชียงใหม่
คนไทยทัวร์ แวะมาที่ร้านอาหารสไตล์บ้านๆ แต่วิวสวยใช้ได้ น่าไปให้กำลังใจกันที่ ชามโต ชมทุ่ง เชียงใหม่
Photo Trip แนว Portrait ย่านกาดหลวงหรือ ตลาดวโรรส เชียงใหม่
Photo Trip สำหรับ สายเที่ยวและรักการถ่ายภาพแบบมือสมัครเล่น
คนไทยทัวร์ จิบกาแฟยามบ่าย ที่ ่Chapter 2wo cafe ,Chiang Mai
คนไทยทัวร์ แวะเที่ยวชม ร้านเปิดใหม่ คาเฟ่สวนดอกไม้ ส่งกลิ่นหอมทั่วทั้งสวน ที่ ร้าน กลิ่นไม้หอม เชียงใหม่
คนไทยทัวร์ แวะมาเชยชม cafe เปิดใหม่ เส้นม่อนแจ่ม อิงแอบธรรมชาติ วิว 360 องศา
คนไทยทัวร์ ค่ำนี้แวะมาเช็คความใหญ่โต มาแรงที่ ร้านอาหารชาววัง และตลาดน้ำหมียักษ์เขียว (Green Grizzly) Chiang mai
คนไทยทัวร์แวะมารับลมที่ The Consul's Garden เชียงใหม่
คนไทยทัวร์ แวะ surway ที่ Parallel Universe Of Lunar 2 On The Hidden Moon ,Chiang Mai
คนไทยทัวร์แวะมาลอง และ แนะนำร้านอาหาร กิติพาณิช เชียงใหม่
คนไทยทัวร์ พาตะลุยราตรี ที่ ท่าช้าง คาเฟ่ เชียงใหม่ / Tha Chang Cafe
คนไทยทัวร์ แวะมาเชยชม cafe เปิดใหม่ เส้นม่อนแจ่ม อิงแอบธรรมชาติ วิว 360 องศา
คนไทยทัวร์ ภาคพิเศษ พาชมความงามของสวน We Flower Village , Chiang mai
คนไทยทัวร์ พาชม สวนทุ่งดอกมากาเร็ตสีม่วง & สีชมพู เชียงใหม่ ที We Flower Village ,Chiang Mai



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2000 All Rights Reserved By Konthaitour / The Luxury Tour Operator Specialty base in Chiang Mai, Thailand. มากกว่าคำว่าทัวร์ ใส่ใจทุกรายละเอียด เรียกหาคนไทยทัวร์

           ช่องทางการติดต่อ คนไทยทัวร์ 

   Konthaitour VDO  

 

บริษัททัวร์นำเที่ยวเชียงใหม่ ,แพ็คเกจทัวร์เชียงใหม่ ,ทัวร์เชียงใหม่,เที่ยวเชียงใหม่ ,ท่องเที่ยวเชียงใหม่, ,ทัวร์เหนือ ,tour operator chiangmai,tour chiang mai ,tour package chiangmai,northern tours,chiangmai-chiangrai-travel,ทัวร์เหนือ,chiangmai,tour company chiangmai ,ข้อมูลการท่องเที่ยวเชียงใหม่,Chiang mai , Chiangmai Travel Center, Tour Operator chiang mai thailand , chiang mai tours ,travel chiang mai ,tour chiang mai , chiangmai travel, Luxury-executive-VIP Tours ,family tours, honeymoon tours, Sightseeing ,tour package , chiang mai hotel, Travel Chiang maiทัวร์เชียงใหม่ ,เที่ยวเชียงใหม่ ,chiang mai mice ,chiang mai organize,บริษัททัวร์เชียงใหม่,บริษัททัวร์ ,เชียงใหม่,บริษัททัวร์นำเที่ยวเชียงใหม่,ทัวร์เชียงใหม่,เที่ยวเชียงใหม่ ,ท่องเที่ยวเชียงใหม่, ,ทัวร์เหนือ,โรงแรมเชียงใหม่,กรุ๊ปทัวร์ ทัวร์หมู่คณะ ทัวร์เหมาเชียงใหม่,จังหวัดเชียงใหม่,เชียงใหม่,สถานที่ท่องเที่ยว ท่องเที่ยว เชียงใหม่,บริษัททัวร์นำเที่ยวเชียงใหม่,ทัวร์เชียงใหม่,เที่ยวเชียงใหม่ ,ท่องเที่ยวเชียงใหม่, ,ทัวร์เหนือ,โรงแรมเชียงใหม่,กรุ๊ปทัวร์ ทัวร์หมู่คณะ ทัวร์เหมาเชียงใหม่ , chiang mai , Chiangmai Travel Center, Tour Operator chiang mai thailand , chiang mai tours ,travel chiang mai ,tour chiang mai , chiangmai travel, chiang mai activities,hotel chiang mai ,chiang mai hotel, honeymoon tours, Sightseeing ,tour package,#บริษัททัวร์เชียงใหม่ #บริษัทนำเที่ยวชียงใหม่ #บริษัทนำเที่ยว #ทัวร์เชียงใหม่ #เที่ยวเชียงใหม่ #แพ็กเก็จนำเที่ยวเหนือ #แพ็กเก็จนำเที่ยวเชียงใหม่ #โปรแกรมทัวร์เชียงใหม่ #ทัวร์ครอบครัวเชียงใหม่ #สันทนาการเชียงใหม่ #teambuildingchiangmai #chiangmaiteambuilding #micechiangmai #chiangmaimice #บริษัททัวร์ #คนไทยทัวร์ #เชียงใหม่ ,#chiangmaitravel #touroperatorchiangmai #chiangmai #chiangmaithailand #thailandchiangmai #travelagentchiangmai #travelagencychiangmai@konthaitour #konthaitour #holidaychiangmai #vacationchiangmai #asiatravel #tourguidechiangmai #chiangmaivip #honeymoonchiangmai #journeychiangmai #northernthailand #chiangmaiguide #guidetochiangmai#tourismchiangmai #tourismthailand,chiang mai,chiang mai photo,travel chiang mai ,tour thailand,holiday chiang mai,vacation chiang mai ,เชียงใหม่ ,ท่องเที่ยวเชียงใหม่ ,chiang mai hotel ,thailand chiang mai,family tour,tour group,vip tour,tour company เชียงใหม่ ,ภาคเหนือ , tour chiangmai แพ็คเกจทัวร์เชียงใหม่ Chiang Mai travel , Chiang Mai Tour,chiang mai package tour,trip chiangmai,ทริปเหนือ,เชียงใหม่ทริป ,honeymoon chiang mai ,chiang mai attractions,chiang mai activity,Chiang mai ,Chiang mai tour, tour chiang mai ,trip planner,advisor chiang mai , VIP,family tours, honeymoon tours, Sightseeing ,vacation , shopping chiang mai , holiday chiang mai ,thailand tour package , trip chiangmai ,thailand tour,tour thai,northtrip,hotel chiangmai,tour,guide ,จองห้อง ประชุม สัมมนา ,งานเลี้ยง ,กิจกรรมต่างๆ ,ปาร์ตี้ส่วนตัว ,Tour organize,golf arrangement ,events ,ทัศนศึกษา, ดูงาน ,ประชุมสัมมนา, ฝึกอบรม,STAFF PARTY และงานสังสรรค์ต่าง ๆ,พิธีการและงานมงคลต่าง ๆ,งานแต่งงาน  ,ฉลองเปิดบริษัท ,Theme party  ,Staff Party ,team building ,mice
    

 

 

TAT License : 21-00777
มากกว่าคำว่าทัวร์ ใส่ใจ ทุกรายละเอียด เรียกหา คนไทยทัวร์ 

3/112  ถ.รัตนโกสินทร์ ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200

โทร :   095-8789598 
     @konthaitour  , bassktt 

อีเมล์ :  konthaitour@hotmail.com  
 www.konthaitour.com